รู้หรือไม่!? โลหะหนักอยู่รอบตัวเรา การกิน การใช้ การหายใจ และสัมผัส!

Last updated: 20 ต.ค. 2566  |  720 จำนวนผู้เข้าชม  | 

รู้หรือไม่!? โลหะหนักอยู่รอบตัวเรา การกิน การใช้ การหายใจ และสัมผัส!

    ร่างกายรับโลหะหนักเข้ามาทีละนิด ไม่ส่งผลกระทบเฉียบพลันทันที แต่ค่อยๆ สะสมอย่างต่อเนื่องจนส่งผลต่อสุขภาพ คล้ายเป็นการเร่งให้อวัยวะต่างๆ เสื่อมเร็วกว่าที่ควรจะเป็น และเป็นสาเหตุสำคัญของโรคกลุ่ม NCDs นอกจากนี้ยังกระตุ้นให้เกิดอนุมูลอิสระ หรือ reactive oxygen species (ROS) ที่นำไปสู่กระบวนการอับเสบเรื้อรัง และพัฒนาต่อไปเป็นเซลล์มะเร็ง

ร่างกายมีกลไกการกำจัดของเสียโดยธรรมชาติ โลหะหนักก็ถูกขับออกไปได้เองทางเหงื่อและปัสสาวะ แต่อาจจะใช้เวลานาน เพราะโลหะหนักได้เข้าไปจับตัวอยู่ในเนื้อเยื่อของเราแล้ว ซึ่งเราสามารถตรวจวัดระดับโลหะหนักในร่างกายได้ในทางการแพทย์ และเพิ่มเติมการดูแลตัวเองผ่านอาหารที่ช่วยดีท็อกซ์ได้ ด้วยการกินให้หลากหลาย ไม่กินวัตถุดิบเดิมๆ ซ้ำๆ เพื่อลดโอกาสในการรับสารพิษชนิดเดิมๆ เข้าสู่ร่างกาย

ลหะหนักคืออะไร สะสมในร่างเราได้ไง
ถ้าเราเสิร์ชว่า ‘โลหะหนัก คือ’ ในช่องค้นหา คำตอบที่ได้คือ โลหะหนัก (Heavy Metals) หมายถึง โลหะที่มีความถ่วงจำเพาะมากกว่าน้ำ 5 เท่าขึ้นไป เป็นสารที่สลายตัวช้า เลยสะสมในสิ่งแวดล้อมได้นาน ซึ่งอาจเฉพาะทางเกินความเข้าใจของคนทั่วไป เอาเป็นว่า โลหะหนักเป็นสารพิษที่ปะปนอยู่ในสิ่งแวดล้อมรอบตัว และเราก็รับเข้ามาอยู่ตลอดเวลาจากการกินการใช้ของเรา ทำให้เกิดการสะสมในร่างกายอย่างไม่รู้ตัว

โดยปกติร่างกายจะมีโลหะหนักที่เป็นประโยชน์และความจำเป็นกับร่างกาย เช่น สังกะสี ทองแดง เหล็ก แต่จะมีสารพิษกลุ่มโลหะหนัก มีอะไรบ้าง?
 อะลูมิเนียม
 ตะกั่ว
 ปรอท
 สารหนู หรือแคดเมียม
 นิกเกิล

  • ทั้งอุปกรณ์ประกอบอาหาร ภาชนะต่างๆ เช่น หม้อก๋วยเตี๋ยว หม้อขาหมู ที่ต้มๆ เคี่ยวๆ เป็นเวลานานก็อาจมีสารตะกั่วรั่วซึมได้ หรือเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมอาหาร เช่น การใส่สารเติมแต่งเพื่อให้ได้คุณลักษณะอาหารอย่างที่ต้องการ ถ้าไม่มีการควบคุมหรือใช้อย่างไม่เหมาะสม ก็อาจเป็นอันตรายกับสุขภาพคนกินในระยะยาว หรือตัวบรรจุภัณฑ์อาหารเองก็อาจมีโลหะหนักตกค้าง เช่น แคดเมียมในกล่องพลาสติก อลูมิเนียมในอาหารกระป๋อง ซึ่งอาจปนเปื้อนมากับอาหารได้
  • ภาคเกษตรเองก็อาจมีโลหะหนัก ทั้งตะกั่ว แคดเมียม สารหนู ปนเปื้อนในอาหารจากการใช้สารเคมีในกระบวนการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ ที่มีการใช้ยากำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง และอาหารสำเร็จรูปที่ใช้เลี้ยงสัตว์
  • อาหารทะเลก็ไม่ต่างกัน เมื่อโลหะหนักปะปนในน้ำลงสู่ทะเล การที่เรากินอาหารทะเล เช่น กุ้ง ปลาหมึก หอย ปลา สาหร่าย ก็อาจทำให้ร่างกายได้รับสารปรอท แคดเมียม ตะกั่ว ที่ปนเปื้อนมากับอาหารเหล่านี้ 

ที่แฝงเข้ามาตกค้างในร่างกายด้วยเช่นกัน ด้วยความที่สลายตัวช้าและอยู่ได้นานในสิ่งแวดล้อม ทำให้พอเดินทางเข้ามาในร่างกายเราแล้ว เกิดการสะสม ยิ่งถ้ารับเข้ามาปริมาณมากในคราวเดียวอาจทำให้เสียชีวิตได้เลย


ถ้าไม่ได้ไปตรวจร่างกายระดับโลหะหนัก เราสามารถสังเกตตัวเองเบื้องต้นว่ามีอาการแบบนี้บ่อยๆ หรือไม่ ถ้าใช่ แนะนำให้ปรึกษาแพทย์เพื่อวินิจฉัยการรักษาได้อย่างเหมาะสม  

  • ปวดศีรษะบ่อยๆ   
  • ปวดตามร่างกาย เช่น ปวดหลัง ปวดข้อมือ ข้อนิ้ว ข้อเท้า
  • อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
  • เหน็บชา มือชา ปลายมือ ปลายเท้าชา เป็นตะคริวบ่อยๆ
  • ผื่นแพ้ ลมพิษ
  • คลื่นไส้ อาเจียน เป็นไข้บ่อยๆ
  • พูดไม่ชัด /การมองเห็นเปลี่ยน /ได้ยินผิดปกติ

 กินล้างโลหะหนักในร่างกาย 
ไอเบอร์รี่ ดีท็อกซ์ คือ สารอาหารเสริมจากผัก ผลไม้ จากธรรมชาติ  ที่มีฤทธิ์ส่งเสริมกระตุ้น ให้ลําไส้เล็กและลําไส้ใหญ่เกิดการบีบตัว ขับของเสียออกจากลําใส้ หรือเร่งขบวนการขับถ่ายนั่นเอง คือ มีฤทธิ์ที่แรงกว่ายาระบายทั่ว ๆ ไป เพราะการที่ท้องผูกหรือการขับถ่ายที่ช้า ก็จะส่งผลให้ของเสียที่คั่งค้างอยู่ในลําไส้จะเกิดการดูดซึมย้อนกลับผ่านผนังลําไส้ เข้าสู่ร่างกายอีกครั้ง ทําให้เซลล์ของร่างกายเกิดการทํางานแปรปรวนได้
 ไอเบอร์รี่ ดีท็อกซ์  ประกอบไปด้วยสารสกัดจากผัก ผลไม้ จากธรรมชาติ  ได้แก่ ฟรุตโต-โอลิโกแซคคาไรด์ , สารสกัดจากรากแดนดิเลี่ยน , สารสกัดจากผลทับทิม , สารสกัดอัลฟัลฟา , ไซเลี่ยม – ฮักส์ เป็นต้น

ไอเบอร์รี่ ดีท็อกซ์   เหมาะสมสําหรับผู้ที่มีปัญหาเรื่องระบบขับถ่าย หรือท้องผูก ร่างกายได้รับสารพิษหรือโลหะหนัก ปวดหัวบ่อย เครียด หงุดหงิด สมองมึนงง อ่อนเพลีย รู้สึกร้อน ๆ หนาว ๆ ปวดหลังปวดไหล่ ปวดต้นคอ ท้องอืด ปวดท้องบ่อย ผายลมบ่อย มีกลิ่นลมหายใจ กลิ่นตัว สิวเสี้ยน สิวอักเสบ มีแผลร้อนในเป็นประจํา

รับประทาน ดื่มก่อนนอนวันละ 1 แก้ว ในช่วงแรกอาจจะถ่ายเป็นน้ำสีคล้ำ หรือมีกลิ่นเหม็นมากในช่วงแรก ๆ สามารถทานไปเรื่อย ๆ ได้ตลอดทุกวัน โดยไม่ส่งผลเสียต่อร่างกายในระยะยาว หรือทําให้ระบบการขับถ่ายแปรปรวน


หลักการเป็นอย่างไร

  • หยุดอาหารที่น่าสงสัยว่าจะเป็นแหล่งนำสารพิษเข้าสู่ร่างกาย
  • ให้สารอาหารหรือรับประทานอาหารที่มั่นใจว่าปลอดสารพิษ หรือมีสารพิษน้อยที่สุด 
  • ใช้วิธีการปรุงแบบนึ่ง ต้ม สด ดิบ
  • เลี่ยงอาหารมัน ทอด ปิ้ง ย่าง
ทําแล้วได้ผลเป็นอย่างไรบ้าง
  • ช่วยบํารุงผิวพรรณให้สดใส
  • ช่วยบํารุงกล้ามเนื้อหัวใจให้แข็งแรง และทํางานได้ดี
  • ช่วยลดการสะสมของไขมัน
  • เสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้ดีขึ้น
  • เซลล์ร่างกายแข็งแรงขึ้น ทํางานได้ดีขึ้น
  • ช่วยล้างสารพิษที่ตกค้างอยู่ในลําไส้ให้หมดไป
  • ช่วยกระตุ้นการล้างสารพิษที่ตกค้างอยู่ใน ตับ,ไต,สมอง,กระแสเลือด
  • ช่วยลดน้ำหนักได้ประมาณ 3-5 กิโลกรัม
  • ผิวพรรณสดใส เปร่งปรั่ง
  • ลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง

การดูแลสุขภาพร่างกายในเชิงป้องกันไว้ดีกว่าแก้ (ไข) หากปล่อยเจ็บป่วยก่อนค่อยมารักษาแพทย์ เพราะกว่าที่ร่างกายจะเจ็บป่วยจนแสดงผลปรากฏชัดนั้นต้องสะสมความเจ็บไข้ไว้ เป็นแรมปี ดังนั้น หากเราสามารถป้องกันด้วยการดูแลรักษาสุขภาพ ทั้งอาหาร อากาศ อารมณ์ ออกกําลัง กาย จะเป็นเรื่องที่ดีในระยะยาว และไม่ต้องเสียงบประมาณในการรักษาที่แพงๆ อีกด้วย เพราะการที่จะอยู่ อย่างไรให้ชีวิตยืนยาวและแข็งแรงนั้น หากเราดูแลดี ให้เวลาดี ใช้เวลาบ่มเพาะร่างกายเป็นอย่างดี ก็สามารถ มีสุขภาพที่ดีได้ไม่ยากเกินไปค่ะ

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้